เรเดียม (Radium) คือธาตุที่มีเลขอะตอม 88 และสัญลักษณ์คือ Ra เรเดียมเป็นธาตุโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท ถูกค้นพบโดยมารี กูรี ขณะบริสุทธิ์จะมีสีขาวและจะดำลงเมื่อสัมผัสกับอากาศในธรรมชาติ
พบอยู่กับแร่ยูเรเนียม เรเดียมเป็นธาตุกัมมันตรังสีชนิดเข็มข้น ไม่มีไอโซโทปที่เสถียร ไอโซโทป
กัมมันตรังสีมีประมาณ 16 ไอโซโทป และไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ Ra-226 มีครึ่งชีวิต 1620 ปี
เรเดียมในธรรมชาติเกิดจาการสลายตัวของ U-238 เมื่อ Ra-226 สลายตัวจะได้ Rn-222 และจะสลายตัวต่อไป
จนได้ Pb-206 และจะสลายกลายเป็นก๊าซเรดอน
ประโยชน์ รังสีแกมมาที่ได้จากการสลายตัวของเรเดียมใช้ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งนอกจากนั้นธาตุเรเดียมยังใช้ในอุตสาหกรรมสารเรืองแสง
เพราะเรเดียมเรืองแสงได้ในที่มืด
การใช้ประโยชน์
การใช้ประโยชน์ของเรเดียมอาศัยสมบัติกัมมันตรังสี พอสรุปได้ดังนี้
1. แหล่งนิวตรอน อนุภาคอัลฟาที่ปล่อยออกมาโดยเรเดียมและไอโซโตปลูกของมันมีพลังงานสูงพอที่จะ ไปริเริ่มปฏิกิริยานิวเคลียร์ของธาตุที่เบา
2. สีเรืองแสง (luminous paint) เป็น การใช้ประโยชน์ของเรเดียมที่สำคัญที่สุดในอุตสาหกรรม โดยให้ เรเดียม (หรือไอโซโตปที่ปล่อยอนุภาคอัลฟาอื่น ๆ) ผสมอย่างทั่วถึงใน hosphor อนินทรีย์ ซึ่งอนุภาคอัลฟาที่ปล่อยออกมามีพลังงานเพียงพอในการกระตุ้นทำให้เกิดการ เรืองแสงได้ (จึงไม่ต้องใช้แหล่งพลังงานจากภายนอก) สีเรืองแสงใช้ในหน้าปัดนาฬิกา (ทำให้สามารถอ่านเวลาได้ในที่มืด) และสัญญาณจราจรต่าง ๆ
3. ในวงการแพทย์ ใช้รักษามะเร็งโดยการฉายรังสี
4. เป็นแหล่งหลักของธาตุเรดอน
การใช้ประโยชน์ของเรเดียมอาศัยสมบัติกัมมันตรังสี พอสรุปได้ดังนี้
1. แหล่งนิวตรอน อนุภาคอัลฟาที่ปล่อยออกมาโดยเรเดียมและไอโซโตปลูกของมันมีพลังงานสูงพอที่จะ ไปริเริ่มปฏิกิริยานิวเคลียร์ของธาตุที่เบา
2. สีเรืองแสง (luminous paint) เป็น การใช้ประโยชน์ของเรเดียมที่สำคัญที่สุดในอุตสาหกรรม โดยให้ เรเดียม (หรือไอโซโตปที่ปล่อยอนุภาคอัลฟาอื่น ๆ) ผสมอย่างทั่วถึงใน hosphor อนินทรีย์ ซึ่งอนุภาคอัลฟาที่ปล่อยออกมามีพลังงานเพียงพอในการกระตุ้นทำให้เกิดการ เรืองแสงได้ (จึงไม่ต้องใช้แหล่งพลังงานจากภายนอก) สีเรืองแสงใช้ในหน้าปัดนาฬิกา (ทำให้สามารถอ่านเวลาได้ในที่มืด) และสัญญาณจราจรต่าง ๆ
3. ในวงการแพทย์ ใช้รักษามะเร็งโดยการฉายรังสี
4. เป็นแหล่งหลักของธาตุเรดอน
ความเป็นพิษ
เนื่องจากเรเดียมให้กัมมันตรังสีที่เข้มมาก สามารถฆ่าเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตได้ จึงเป็นธาตุอันตรายมาก การใช้จึงต้องใช้ความระมัดระวังสูง
เนื่องจากเรเดียมให้กัมมันตรังสีที่เข้มมาก สามารถฆ่าเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตได้ จึงเป็นธาตุอันตรายมาก การใช้จึงต้องใช้ความระมัดระวังสูง
88
|
แฟรนเซียม ← เรเดียม → แอกทิเนียม
|
Ba
(Ubn) |
|
ทั่วไป ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข เรเดียม,
Ra, 88 อนุกรมเคมี โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท หมู่, คาบ, บล็อก 2, 7, s ลักษณะ สีขาวเงินมันวาว มวลอะตอม (226) กรัม/โมล การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Rn]
7s2 อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 2, 8,
18, 32, 18, 8, 2 คุณสมบัติทางกายภาพ สถานะ ของแข็ง ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 5.5 ก./ซม.³ จุดหลอมเหลว 973 K
(700 °C) จุดเดือด 2010 K(1737 °C) ความร้อนของการหลอมเหลว 8.5 กิโลจูล/โมล ความร้อนของการกลายเป็นไอ 113 กิโลจูล/โมล
(700 °C) จุดเดือด 2010 K(1737 °C) ความร้อนของการหลอมเหลว 8.5 กิโลจูล/โมล ความร้อนของการกลายเป็นไอ 113 กิโลจูล/โมล
ความดันไอ
คุณสมบัติของอะตอม โครงสร้างผลึก cubic
body centered สถานะออกซิเดชัน 2
(ดกเด้ด่าอ้กะกะกะก้อ่อเบสแก่) อิเล็กโตรเนกาติวิตี 0.9 (พอลิงสเกล) พลังงานไอออไนเซชัน ระดับที่ 1: 509.3 กิโลจูล/โมล ระดับที่ 2: 979.0 กิโลจูล/โมล รัศมีอะตอม 215 pm อื่น ๆ การจัดเรียงทางแม่เหล็ก nonmagnetic ความต้านทานไฟฟ้า(20 °C) 1 µΩ·m การนำความร้อน (300 K) 18.6 W/(m·K) เลขทะเบียน CAS 7440-14-4 ไอโซโทปที่น่าสนใจ
(ดกเด้ด่าอ้กะกะกะก้อ่อเบสแก่) อิเล็กโตรเนกาติวิตี 0.9 (พอลิงสเกล) พลังงานไอออไนเซชัน ระดับที่ 1: 509.3 กิโลจูล/โมล ระดับที่ 2: 979.0 กิโลจูล/โมล รัศมีอะตอม 215 pm อื่น ๆ การจัดเรียงทางแม่เหล็ก nonmagnetic ความต้านทานไฟฟ้า(20 °C) 1 µΩ·m การนำความร้อน (300 K) 18.6 W/(m·K) เลขทะเบียน CAS 7440-14-4 ไอโซโทปที่น่าสนใจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น